ด้วยความเคารพและชื่นชมนักกอล์ฟอาชีพชาวไทยทุกท่าน หลังจากดูโฆษณาข้างบนแล้ว Science Geek ที่สิงร่างก็บังคับให้ผมเสริมประโยคที่ว่า “ตีลูกให้ถึงดวงจันทร์ ถึงพลาดก็ยังอยู่ท่ามกลางดวงดาว” ดังนี้ครับ:
ด้วยความเคารพและชื่นชมนักกอล์ฟอาชีพชาวไทยทุกท่าน หลังจากดูโฆษณาข้างบนแล้ว Science Geek ที่สิงร่างก็บังคับให้ผมเสริมประโยคที่ว่า “ตีลูกให้ถึงดวงจันทร์ ถึงพลาดก็ยังอยู่ท่ามกลางดวงดาว” ดังนี้ครับ:
Over at the Bad Astronomy site, there is a very clear explanation why we have leap years. It has to do with the number of days in a year not being exactly 365 days, but about 365.25. Adding extra days over the years has an effect of syncing the calendar with actual physical years. (Remember that 1 day = one rotation of the Earth and 1 year = one orbit of the Earth around the Sun.)
The algorithm to determine if a year (in A.D., like 2008; for B.E., subtract 543 first) is a leap year is this: If the year is divisible by 400, it’s a leap year. If it’s not divisible by 400 but divisible by 100, it’s not a leap year. If it’s not divisible by 100 but divisible by 4, it’s a leap year. Other years are not a leap year.
Besides the article, the site is an excellent source of information about science and astronomy. A few of my favorite articles are Bad Movies, Apollo Moon Hoax, Coriolis Effect vs. Water Drain Direction (and here too), and Just Another Face in the Crowd.
กำเนิดทฤษฎีเกม…..๑๑
๑. เกม…..๑๕
๒. กลยุทธ์เด่น…..๒๗
๓. ความลำบากใจของจำเลย…..๓๘
๔. จุดสมดุลของแนช…..๕๐
๕. เกมปอดแหก…..๖๒
๖. เกมแห่งความร่วมใจ…..๗๐
๗. สุ่มกลยุทธ์…..๗๖
๘. ความน่าเชื่อถือ…..๘๒
๙. การต่อรอง…..๙๒
๑๐. เกมกับค่าจ้าง…..๑๐๖
๑๑. เกมกับธุรกิจ…..๑๑๘
๑๒. เกมกับตลาดหุ้น…..๑๒๗
บทส่งท้าย….๑๔๑
— – —- – —– ———
ผมคิดว่า บท “ความลำบากใจของจำเลย” (Prisoners’ Dilemma) เป็นตัวอย่างสำคัญว่ามนุษย์จะทำให้กฏแห่งกรรมทำงาน และทำให้สังคมน่าอยู่ได้อย่างไรโดยไม่ต้องพึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ด้วยครับ