Category Archives: General Science Info

แหล่งข้อมูลเรื่องการทดลองกระตุ้นความจำในผู้สูงอายุด้วยกระแสไฟฟ้าเป็นจังหวะ

วันนี้ผมบันทึกเสียงสั้นๆเรื่องวิทยาศาสตร์ทั่วไปในรายการ Sci & Tech ที่วิทยุไทยพีบีเอสเรื่องการทดลองส่งสัญญาณไฟฟ้าเป็นจังหวะกระตุ้นให้ระบบความจำใช้งานระยะสั้น (working memory) ในผู้สูงอายุทำงานได้ดีขึ้นครับ ผมเลยบันทึกลิงก์ที่ผู้สนใจอาจหารายละเอียดเพิ่มเติมไว้ที่นี่ครับ:

อันนี้คือบทความวิจัยจากมหาวิทยาลัยบอสตันที่ผมอ้างอิง: Working memory revived in older adults by synchronizing rhythmic brain circuits โดย Robert M. G. Reinhart และ John A. Nguyen ครับ

จากบทความ Working memory revived in older adults by synchronizing rhythmic brain circuits โดย Robert M. G. Reinhart และ John A. Nguyen

สรุปบทความข้างต้นโดยลดรายละเอียดลงให้อ่านง่ายๆโดยคนทั่วไปที่ไม่อยู่ในสาขาวิจัยนี้: Scientists Test Whether Brain Stimulation Could Help Sharpen Aging Memory

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคลื่นไฟฟ้าสมอง EEG คำอธิบายเป็นภาษาไทยอยู่ที่นี่

ตัวอย่างคลื่นไฟฟ้าสมอง ภาพโดย By Andrii Cherninskyi – Own work, CC BY-SA 4.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=44035072

ข่าวเรื่องการกระตุ้นสมองส่วนฮิปโปแคมปัสด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (TMS) แล้วดูเหมือนว่าความจำผู้สูงอายุทำงานดีขี้น: Brain stimulation reverses age-related memory loss

ข่าวเรื่องการใช้ไฟฟ้ากระตุ้นประสาทบริเวณกระดูกสันหลังเพื่อช่วยผู้ป่วยโรคพาคินสันเดินได้ง่ายขึ้น: Parkinson’s results beyond researchers’ wildest dreams

โครงสร้างของหูและเราได้ยินได้อย่างไร

คลิปสรุปเรื่องระบบประสาทในร่างกายเราสามคลิปครับ:

แหล่งข้อมูลเพิ่มเติมเรื่องหลุมดำ

วันนี้ผมบันทึกเสียงสั้นๆเรื่องวิทยาศาสตร์ทั่วไปในรายการ Sci & Tech ที่วิทยุไทยพีบีเอสเรื่องหลุมดำเนื่องจากสัปดาห์ที่แล้วมีข่าวใหญ่ว่ามนุษยชาติสามารถถ่ายภาพ(เงาของ)หลุมดำได้แล้วครับ ผมมีลิงก์แนะนำเพื่อความเข้าใจเพิ่มเติมดังนี้ครับ:

เว็บโครงการ Event Horizon Telescope ที่ถ่ายภาพหลุมดำครับ มีลิงก์ไปที่งานวิจัยที่ตีพิมพ์ด้วย (1, 2, 3, 4, 5, 6) อันแรกนี้คือเรื่องภาพเงาของหลุมดำที่พวกเราตื่นเต้นกันมากๆครับ

ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับหลุมดำและการถ่ายภาพ เป็นภาษาไทย:

สรุปการถ่ายภาพหลุมดำ เป็นภาษาไทย: https://spaceth.co/the-first-black-hole-pic/

กด https://spaceth.co/the-first-black-hole-pic/เพืออ่านรายละเอียด

ดาวฤกษ์เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไปอย่างไร:

หลุมดำเกิดขึ้นอย่างไร

Dr. Katie Bouman ซึ่งเป็นหนึ่งในทีมวิจัยมาสรุปให้ฟังที่ Caltech ว่าวิจัยอะไร อย่างไร พบอะไรบ้างครับ:

แหล่งข้อมูลเรื่อง Hotspots (จุดความร้อนจากการเผาไหม้ในที่โล่ง)

วันนี้ผมบันทึกเสียงสั้นๆเรื่องวิทยาศาสตร์ทั่วไปในรายการ Sci & Tech ที่วิทยุ ไทยพีบีเอสเรื่อง Hotspots (จุดความร้อนจากการเผาไหม้ในที่โล่ง) อ้างอิงถึงแหล่งข้อมูลที่ประชาชนเข้าไปดูเพิ่มเติมเองได้ เลยเอาลิงก์มาบันทึกไว้ที่นี่ครับ

เว็บแผนที่และข้อมูลการเผาไหม้ Fire Information for Resource Management System (FIRMS) โดย NASA

เว็บ FIRMS แผนที่ประเทศไทยตอนเหนือ จุดสีแดงคือ Hotspot ที่มีความร้อนจากการเผาไหม้

เว็บความร่วมมืออาเซียนเกี่ยวกับลมฟ้าอากาศ ASEAN Specialised Meteorological Center (ASMC)

หน้าเว็บ ASMC

เว็บสถานการณ์ไฟป่าโดยสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ GISTDA

สถานการณ์ไฟป่าจาก GISTDA

ตัวอย่างดาวเทียมที่เก็บข้อมูลพวกนี้: TERRA และ AQUA

ตัวอย่างเซนเซอร์วัดคลื่นต่างๆ: MODIS และ VIIRS

โครงการ Earth Observing System (EOS)

สร้างโมเดลทำนายปริมาณฝุ่น PM2.5 พบว่าปัจจัยหลักคือการเผาในที่โล่ง

รวมตัวอย่างเครื่องฟอกอากาศและระบบกันฝุ่นทำเองง่ายๆครับ